10 ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์
น่าติดตามปี 2568
![](https://s359.kapook.com//pagebuilder/b56dc17a-446f-4edc-aa2d-04144d30f0d5.jpg)
1. ดาวอังคารใกล้โลก และดาวอังคารอยู่ตรงข้ามดวงอาทิตย์
เปิดศักราชมาด้วย 2 ปรากฏการณ์เกี่ยวกับดาวอังคาร ในคืนวันที่ 12 มกราคม 2568 ดาวอังคารจะโคจรมาอยู่ตำแหน่งใกล้โลกที่สุด ระยะห่างประมาณ 96 ล้านกิโลเมตร จากนั้นจะโคจรไปอยู่ในตำแหน่งตรงข้ามดวงอาทิตย์วันที่ 16 มกราคม 2568 ช่วงดังกล่าวสามารถสังเกตการณ์ดาวอังคารได้ตลอดทั้งคืน ปรากฏสว่างเป็นสีส้มแดงบนฟ้า หากชมผ่านกล้องโทรทรรศน์กำลังขยายตั้งแต่ 100 เท่าขึ้นไป จะเห็นพื้นน้ำแข็งสีขาวบริเวณขั้วของดาวอังคารได้ ปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นทุก ๆ ประมาณ 26 เดือน
![ดาวอังคารใกล้โลก และดาวอังคารอยู่ตรงข้ามดวงอาทิตย์](https://s359.kapook.com//pagebuilder/e91f479c-2058-430a-9c47-76ac9e2e4197.jpg)
ภาพจาก : เฟซบุ๊ก NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ
2. ดาวศุกร์สว่างที่สุด
![ดาวศุกร์สว่างที่สุด](https://s359.kapook.com//pagebuilder/222339b9-f249-43d3-b8eb-3dee6872013b.jpg)
ภาพจาก : เฟซบุ๊ก NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ
3. ดาวเสาร์เสมือนไร้วงแหวน
![ดาวเสาร์เสมือนไร้วงแหวน](https://s359.kapook.com//pagebuilder/79ff4ae8-622c-40a9-8094-65f76994dd5f.jpg)
ภาพจาก : เฟซบุ๊ก NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ
4. ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี
![ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี](https://s359.kapook.com//pagebuilder/a9134752-8c8f-4a57-8557-4a4a7339f6bc.jpg)
ภาพจาก : เฟซบุ๊ก NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ
5. จันทรุปราคาเต็มดวง
![จันทรุปราคาเต็มดวง](https://s359.kapook.com//pagebuilder/c3da1c52-f96b-4752-b183-a57b5fec2911.jpg)
ภาพจาก : เฟซบุ๊ก NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ
6. ดวงจันทร์เต็มดวง ใกล้-ไกลโลกที่สุดในรอบปี
![ดวงจันทร์เต็มดวง ใกล้-ไกลโลกที่สุดในรอบปี](https://s359.kapook.com//pagebuilder/d95fecb3-d79a-47f8-aca3-e3d7418a59e6.jpg)
ภาพจาก : เฟซบุ๊ก NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ
7. ฝนดาวตกน่าติดตาม
![ฝนดาวตกน่าติดตาม](https://s359.kapook.com//pagebuilder/5c7eec59-d6f0-4b2b-9345-f71e7f43ed08.jpg)
ภาพจาก : เฟซบุ๊ก NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ
8. ดาวเคียงเดือน และดาวเคราะห์ชุมนุม
- วันที่ 4 มกราคม 2568 ดวงจันทร์เคียงดาวเสาร์
- วันที่ 18 มกราคม 2568 ดาวศุกร์เคียงดาวเสาร์
- วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ดวงจันทร์เคียงดาวเสาร์
- วันที่ 11 เมษายน 2568 ดาวพุธเคียงดาวเสาร์
- วันที่ 25 เมษายน 2568 ดวงจันทร์เคียงดาวศุกร์และดาวเสาร์
- วันที่ 26 เมษายน 2568 ดวงจันทร์เคียงดาวพุธ
- วันที่ 29 เมษายน 2568 ดาวศุกร์เคียงดาวเสาร์
- วันที่ 2 พฤษภาคม 2568 ดวงจันทร์เคียงดาวพอลลักซ์และคาสเตอร์ (ปรากฏคล้ายพระจันทร์ยิ้ม)
- วันที่ 23 พฤษภาคม 2568 ดวงจันทร์เคียงดาวเสาร์
- วันที่ 24 พฤษภาคม 2568 ดวงจันทร์เคียงดาวศุกร์
- วันที่ 1 มิถุนายน 2568 ดวงจันทร์เคียงดาวอังคาร
- วันที่ 12 สิงหาคม 2568 ดาวศุกร์เคียงดาวพฤหัสบดี
![ดาวเคียงเดือน และดาวเคราะห์ชุมนุม](https://s359.kapook.com//pagebuilder/94b31c92-b8d2-48d3-9715-28f4b296abeb.jpg)
ภาพจาก : เฟซบุ๊ก NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ
9. ดวงอาทิตย์ตั้งฉากประเทศไทย
![ดวงอาทิตย์ตั้งฉากประเทศไทย](https://s359.kapook.com//pagebuilder/06f45aee-3a7a-49c7-871e-853e113a3951.jpg)
ภาพจาก : เฟซบุ๊ก NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ
10. ฤดูกาลทางดาราศาสตร์
- วันที่ 20 มีนาคม 2568 วันวสันตวิษุวัต (Vernal Equinox) ช่วงเวลากลางวันเท่ากับกลางคืน นับเป็นวันที่ประเทศทางซีกโลกเหนือย่างเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิ ส่วนซีกโลกใต้ย่างเข้าสู่ฤดูใบไม้ร่วง
- วันที่ 21 มิถุนายน 2568 วันครีษมายัน (Summer Solstice) ช่วงเวลากลางวันยาวนานที่สุดในรอบปี นับเป็นวันที่ประเทศทางซีกโลกเหนือย่างเข้าสู่ฤดูร้อน ส่วนซีกโลกใต้ย่างเข้าสู่ฤดูหนาว
- วันที่ 23 กันยายน 2568 วันศารทวิษุวัต (Autumnal Equinox) ช่วงเวลากลางวันเท่ากับกลางคืน นับเป็นวันที่ประเทศทางซีกโลกเหนือย่างเข้าสู่ฤดูใบไม้ร่วง ส่วนซีกโลกใต้ย่างเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิ
- วันที่ 21 ธันวาคม 2568 วันเหมายัน (Winter Solstice) ช่วงเวลากลางคืนยาวนานที่สุดในรอบปี นับเป็นวันที่ประเทศทางซีกโลกเหนือย่างเข้าสู่ฤดูหนาว ส่วนซีกโลกใต้ย่างเข้าสู่ฤดูร้อน
![ฤดูกาลทางดาราศาสตร์](https://s359.kapook.com//pagebuilder/7c98f6b3-54fb-479a-9564-410268a46f14.jpg)
ภาพจาก : เฟซบุ๊ก NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ
บทความ สถานที่ดูดาว ที่เที่ยวดูดาว อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
+++ เปิดพิกัด 18 เขตอนุรักษ์ท้องฟ้ามืด พื้นที่ดูดาวแห่งใหม่ในไทย ปี 2567
+++ พิกัด 10 สถานที่ดูดาว ชมความแพรวพราวยามค่ำคืนจากทั่วไทย
+++ แจกพิกัด 18 สถานที่ดูดาวแห่งใหม่จากทั่วไทย ไปชมความงามยามค่ำคืนกัน